สาระสำคัญ
มารยาทชาวพุทธ เป็นการแสดงออกที่มีแบบแผน ในการประพฤติปฏิบัติ ซึ้งเป็นแนวปฎิบัติที่ทำให้สมาชิกในสังคม สามารถดำรงอยู่ร่วมกันได้อย่างดี โดยเฉพาะมารยาทชาวพุทธที่หล่อหลอมมาจาก หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา เป็นกริยาวาจาที่บุคคลในสังคมพึงปฎิบัติต่อกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม จนนับเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทางศาสนา ที่มีลักษณะเฉพาะของชาวพุทธในประเทศไทย แม้จะไม่สำคัญเท่าหลักธรรมคำสอนโดยตรง แต่ก็มีส่วนในก อ่านเพิ่มเติม
วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่หลักของชาวพุทธที่มีต่อพระศาสนา
ชาวพุทธมีหน้าที่หลักต่อการจรรโลงพระศาสนา 4 ประการ ดังนี้
1. การศึกษาในหลักธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา
2. การปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา
3. การเผยแพร่พระศาสนา
4. การป้องกันรักษาพระศาสนา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ชาวพุทธ
กิจกรรมที่พึงปฏิบัติตามหน้าที่ อ่านเพิ่มเติม
ชาวพุทธมีหน้าที่หลักต่อการจรรโลงพระศาสนา 4 ประการ ดังนี้
1. การศึกษาในหลักธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา
2. การปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา
3. การเผยแพร่พระศาสนา
4. การป้องกันรักษาพระศาสนา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ชาวพุทธ
กิจกรรมที่พึงปฏิบัติตามหน้าที่ อ่านเพิ่มเติม
พระไตรปิฎก
คำกล่าวหน้าเว็บ
เว็บนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับพระธรรม พระไตรปิฎก ในเนื้อหาของพระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม และโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ต่างประเทศ ได้มีโอกาสศึกษาพระธรรม พระไตรปิฎก โดยการจัดทำนี้ ได้ช่วยกันพิมพ์กัน 3 คน จากหนังสือ "พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ย่อความจากประไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม" โดยคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ
เว็บนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับพระธรรม พระไตรปิฎก ในเนื้อหาของพระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม และโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ต่างประเทศ ได้มีโอกาสศึกษาพระธรรม พระไตรปิฎก โดยการจัดทำนี้ ได้ช่วยกันพิมพ์กัน 3 คน จากหนังสือ "พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ย่อความจากประไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม" โดยคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ
ธรรมทาน
ผู้จัดทำไม่ค่อยมีความรู้เรื่องการทำเว็บ หรือโปรแกรมกัน แต่ก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเว็บนี้คงจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย บุญกุศลใด ๆ ในการทำเว็บนี้ขอบุญกุศลที่ได้กระทำแล้วทั้งหมด จงส่งผลให้กับคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำหนังสือพระไตรปิฎกทุก ๆ ท่าน ผู้จัดทำและทุก ๆ ท่านด้วยเทอญ ขออำนาจบารมีองค์ส
ผู้จัดทำไม่ค่อยมีความรู้เรื่องการทำเว็บ หรือโปรแกรมกัน แต่ก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเว็บนี้คงจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย บุญกุศลใด ๆ ในการทำเว็บนี้ขอบุญกุศลที่ได้กระทำแล้วทั้งหมด จงส่งผลให้กับคุณสุชีพ ปุญญานุภาพ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำหนังสือพระไตรปิฎกทุก ๆ ท่าน ผู้จัดทำและทุก ๆ ท่านด้วยเทอญ ขออำนาจบารมีองค์ส
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
พระรัตนตรัย คือแก้วอันประเสริฐ (ของชาวพุทธ) 3 ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์พระพุทธ คือ ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตามพระธรรม คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์ คือ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วส อ่านเพิ่มเติม
พระสงฆ์
พระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้
พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์[1] คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพ อ่านเพิ่มเติม
พระธรรม
'พระธรรม'หมายถึงธรรมะซึ่งทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า
เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของและวิธีการดับทุกข์
ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่าสมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า และยังมีคัมภีร์อื่นๆ ที่แ อ่านเพิ่มเติม
พระพุทธ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีก อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559
สังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภ อ่านเพิ่มเติม
โครงสร้างทางสังคม
สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย ในแง่ของผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไทยมากมาย จำเป็นอ อ่านเพิ่มเติม
.มนุษย์ สังคม และวัฒนธรรม
เรื่องของสังคมและ วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้
เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มีด้านหน้า และด้านหลัง สังคมนั้นหมายถึง
กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมาช้านาน จนมีความรู้สึกว่า
เป็นพวกเดียวกัน และมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีทางในการดำรงชีวิตร่วมกันเป็นแบบอย่างเดียวกัน
วัฒนธรรมนั้นหมายถึง บรรดาขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษา
และทุกสิ่งทุกอย่างที่คนในสังคมนั้น สร้างขึ้นมา เพื่อดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน
เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีสังคม ก็ไม่มีวัฒนธรรม ทั้งสองอย่างจึงเป็นของคู่กันอ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)